พระราชบัญญัติงาช้าง พ.ศ. ๒๕๕๘
เพื่อให้เป็นไปตามกฏหมายดังกล่าว สมาชิกทุกท่านต้องอ่านทำความเข้าใจและปฏิบัติตามอย่างเคร่งคัด
เข้าสู่ระบบ
หน้าแรก
เก้าสิบเก้าวัด
ร้านพระเครื่อง
กระดานสนทนา
สมัครสมาชิก
ติดต่อทีมงาน
ค้นหาข้อมูล
เข้าสู่ระบบ
พระเนื้อชิน หลว...
พระเนื้อชิน หลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว สวยมากๆๆเก่าจัดๆๆ
ประวัติหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว กับพระเครื่องรุ่นต่างๆ article
ประวัติหลวงปู่บุญ ขันธโชติ วัดกลางบางแก้ว จ.นครปฐม
ประวัติหลวงปู่บุญ ขันธโชติ วัดกลางบางแก้ว จ.นครปฐม
ประวัติหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว กับพระเครื่องรุ่นต่างๆ พระพุทธวิถีนายก (หลวงปู่บุญ) ถือกำเนิดฤกษ์วันจันทร์ที่ ๓ กรกฎาคม พ.ศ.๒๓๙๐ ณ บ้านตำบลท่าไม้ อ.กระทุ่มแบน จ.สมุทรสาคร (ในสมัยนั้นเรียกว่าบ้านนางสาว) เป็นบุตรของนายเส็ง นางลิ้ม มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน ๖ คน ท่านเป็นบุตรคนหัวปี เมื่อยังเยาว์ ท่านเคยเป็นไข้อาการหนักชนิดหนึ่ง วันหนึ่งถึงกับสลบไสลไม่ได้สติ บิดามารดาเข้าใจว่าตายไปแล้ว ตระเตรียมการจะเอาไปฝัง แต่ท่านกลับฟื้นขึ้นมา เหมือนมีปาฏิหาริย์ ด้วยเหตุนี้ท่านจึงได้ชื่อที่บิดามารดาตั้งให้ไว้ว่า "บุญ" เคราะห์ร้ายก็ยังไม่สิ้น เมื่อบิดามารดามีความจำเป็นต้องย้ายไปประกอบอาชีพทำนาที่ ต.บางช้าง อ.สามพราน จ.นครปฐม แล้วตอนอายุ ๑๓ ปีเท่านั้น บิดาก็สิ้นบุญ ป้าจึงนำไปฝากไว้กับ พระปลัดทอง วัดคงคาราม (ชื่อเดิมของวัดกลางบางแก้ว) อ.นครชัยศรี แล้วบรรพชาเป็นสามเณรเมื่ออายุได้ ๑๕ ปี เรียนหนังสือหนังหา ศึกษาเล่าเรียนพระธรรมวินัย ในขณะเดียวกัน ก็ได้รับใช้ใกล้ชิดพระปลัดทอง วัดคงคาราม แต่แล้วก็ต้องลาสิกขา ในขณะที่มีอายุใกล้จะอุปสมบท เนื่องจากโรคร้ายยังคุกคามไม่ยอมทุเลา
จนกระทั่งเมื่อวันที่ ๒๑ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๑๒ อายุ ๒๒ ปี หลังจากหายจากโรคร้ายดังกล่าวแล้ว จึงมีโอกาสเข้าอุปสมบทเป็นพระภิกษุ ณ พัทธสีมา วัดกลางบางแก้ว โดยมีพระปลัดปาน วัดพิไทยทาราม ป็นพระอุปัชฌาย์ ได้รับฉายาว่า "ขันธโชติ" เกี่ยวกับหน้าที่การงานและสมณศักดิ์ เมื่อ พ.ศ.๒๔๒๙ เป็นเจ้าอาวาสวัดกลางบางแก้ว พ.ศ.๒๔๓๑ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พ.ศ.๒๔๔๓ พรรษา ๓๐ เป็นเจ้าคณะหมวด พ.ศ.๒๔๕๙ พรรษา ๔๖ เป็นพระอุปัชฌาย์ และได้รับราชทินนามว่า "พระอุตรการบดี" พร้อมกับเป็นเจ้าคณะแขวงในปีนั้นด้วย ต่อมาปี พ.ศ.๒๔๘๒ พรรษา ๔๙ ได้รับราชทินนามว่า "พระครูพุทธวิถีนายก" เป็นประธานกรรมการคณะสงฆ์จังหวัดนครปฐมและจังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ.๒๔๗๓ พรรษา ๖๐ ได้รับราชทินนามว่า "พระพุทธวิถีนายก" เป็นประธานคณะสงฆ์มณฑลนครชัยศรี และถึงแก่กาลมรณภาพ เมื่อวันที่ ๘ เมษายน พ.ศ.๒๔๗๘ ในระหว่างที่มีชีวิตอยู่นั้น หลวงปู่บุญ ได้รับเกียรติยกย่องว่าเป็นพระนักพัฒนา โดยบูรณปฏิสังขรณ์วัดกลางบางแก้ว จนรุ่งเรืองขึ้นอย่างผิดหูผิดตา กลายเป็นวัดใหญ่วัดหนึ่งในมณฑลนครชัยศรี นอกจากนั้นท่านยังสร้างหอไตร มณฑป ศาลาการเปรียญ ศาลาลอย หอสวดมนต์ วิหาร โรงเรียนพระปริยัติธรรมบุญรังสฤษดิ์ ศาสนสถานที่ท่านบูรณะดังกล่าว ได้แก่อุโบสถเจดีย์
หลวงปู่บุญ ขันธโชติ ยังส่งเสริมการศึกษาแก่กุลบุตรและธิดา โดยตั้งโรงเรียนประชาบาลบุญวิถีนายกขึ้น ในขณะเดียวกันก็ยังยื่นมือเข้าไปช่วยเหลือวัดที่ขัดข้องในเรื่องต่างๆ อีกหลายวัด
ขอเชิญทุกท่านร่วมงานประกวดพระเครื่อง 21 สิงหาคม 2559 สถานที่จัดงานในครั้งนี้คือ โรงแรมโลตัสปางสวนแก้ว จ.เชียงใหม่ จัดโดย สมาคมพระเครื่อง พระบูชาไทย ภาคเหนือเขต 2
ค้นหา
ประวัติหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว กับพระเครื่องรุ่นต่างๆ article
ประวัติหลวงปู่บุญ ขันธโชติ วัดกลางบางแก้ว จ.นครปฐม
ประวัติหลวงปู่บุญ ขันธโชติ วัดกลางบางแก้ว จ.นครปฐม
ประวัติหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว กับพระเครื่องรุ่นต่างๆ พระพุทธวิถีนายก (หลวงปู่บุญ) ถือกำเนิดฤกษ์วันจันทร์ที่ ๓ กรกฎาคม พ.ศ.๒๓๙๐ ณ บ้านตำบลท่าไม้ อ.กระทุ่มแบน จ.สมุทรสาคร (ในสมัยนั้นเรียกว่าบ้านนางสาว) เป็นบุตรของนายเส็ง นางลิ้ม มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน ๖ คน ท่านเป็นบุตรคนหัวปี เมื่อยังเยาว์ ท่านเคยเป็นไข้อาการหนักชนิดหนึ่ง วันหนึ่งถึงกับสลบไสลไม่ได้สติ บิดามารดาเข้าใจว่าตายไปแล้ว ตระเตรียมการจะเอาไปฝัง แต่ท่านกลับฟื้นขึ้นมา เหมือนมีปาฏิหาริย์ ด้วยเหตุนี้ท่านจึงได้ชื่อที่บิดามารดาตั้งให้ไว้ว่า "บุญ" เคราะห์ร้ายก็ยังไม่สิ้น เมื่อบิดามารดามีความจำเป็นต้องย้ายไปประกอบอาชีพทำนาที่ ต.บางช้าง อ.สามพราน จ.นครปฐม แล้วตอนอายุ ๑๓ ปีเท่านั้น บิดาก็สิ้นบุญ ป้าจึงนำไปฝากไว้กับ พระปลัดทอง วัดคงคาราม (ชื่อเดิมของวัดกลางบางแก้ว) อ.นครชัยศรี แล้วบรรพชาเป็นสามเณรเมื่ออายุได้ ๑๕ ปี เรียนหนังสือหนังหา ศึกษาเล่าเรียนพระธรรมวินัย ในขณะเดียวกัน ก็ได้รับใช้ใกล้ชิดพระปลัดทอง วัดคงคาราม แต่แล้วก็ต้องลาสิกขา ในขณะที่มีอายุใกล้จะอุปสมบท เนื่องจากโรคร้ายยังคุกคามไม่ยอมทุเลา
จนกระทั่งเมื่อวันที่ ๒๑ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๑๒ อายุ ๒๒ ปี หลังจากหายจากโรคร้ายดังกล่าวแล้ว จึงมีโอกาสเข้าอุปสมบทเป็นพระภิกษุ ณ พัทธสีมา วัดกลางบางแก้ว โดยมีพระปลัดปาน วัดพิไทยทาราม ป็นพระอุปัชฌาย์ ได้รับฉายาว่า "ขันธโชติ" เกี่ยวกับหน้าที่การงานและสมณศักดิ์ เมื่อ พ.ศ.๒๔๒๙ เป็นเจ้าอาวาสวัดกลางบางแก้ว พ.ศ.๒๔๓๑ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พ.ศ.๒๔๔๓ พรรษา ๓๐ เป็นเจ้าคณะหมวด พ.ศ.๒๔๕๙ พรรษา ๔๖ เป็นพระอุปัชฌาย์ และได้รับราชทินนามว่า "พระอุตรการบดี" พร้อมกับเป็นเจ้าคณะแขวงในปีนั้นด้วย ต่อมาปี พ.ศ.๒๔๘๒ พรรษา ๔๙ ได้รับราชทินนามว่า "พระครูพุทธวิถีนายก" เป็นประธานกรรมการคณะสงฆ์จังหวัดนครปฐมและจังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ.๒๔๗๓ พรรษา ๖๐ ได้รับราชทินนามว่า "พระพุทธวิถีนายก" เป็นประธานคณะสงฆ์มณฑลนครชัยศรี และถึงแก่กาลมรณภาพ เมื่อวันที่ ๘ เมษายน พ.ศ.๒๔๗๘ ในระหว่างที่มีชีวิตอยู่นั้น หลวงปู่บุญ ได้รับเกียรติยกย่องว่าเป็นพระนักพัฒนา โดยบูรณปฏิสังขรณ์วัดกลางบางแก้ว จนรุ่งเรืองขึ้นอย่างผิดหูผิดตา กลายเป็นวัดใหญ่วัดหนึ่งในมณฑลนครชัยศรี นอกจากนั้นท่านยังสร้างหอไตร มณฑป ศาลาการเปรียญ ศาลาลอย หอสวดมนต์ วิหาร โรงเรียนพระปริยัติธรรมบุญรังสฤษดิ์ ศาสนสถานที่ท่านบูรณะดังกล่าว ได้แก่อุโบสถเจดีย์
หลวงปู่บุญ ขันธโชติ ยังส่งเสริมการศึกษาแก่กุลบุตรและธิดา โดยตั้งโรงเรียนประชาบาลบุญวิถีนายกขึ้น ในขณะเดียวกันก็ยังยื่นมือเข้าไปช่วยเหลือวัดที่ขัดข้องในเรื่องต่างๆ อีกหลายวัด
พระหลวงปู่บุญ เนื้อดินเผา พิมพ์เศียรโล้นสะดุ้งกลับ
พระหลวงปู่บุญ เนื้อดินเผา พิมพ์เศียรโล้นสะดุ้งกลับ
พระเครื่องวัตถุมงคลหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว เกี่ยวกับวัตถุมงคลและ พระพิมพ์พระเครื่อง หลวงปู่บุญท่านสร้างพระเครื่องรางของขลังขึ้นหลายอย่าง และการสร้างสมัยของท่านนั้น มิได้สร้างเพื่อเรียกร้องเงินทองแต่อย่างใด ท่านแจกให้แก่ชาวบ้านญาติโยมไปฟรีๆ เฉพาะผู้ที่อยากจะได้ ในการสร้างพระเครื่องรางและวัตถุมงคลครั้งแรก หรือยุคแรกของท่านนั้น มีหลักฐานบันทึกไว้ในสมัยนั้นว่ามีเพียง พระยาหอม ที่เรียกในสมัยนี้ว่า พระผงยาจินดามณี และ เบี้ยแก้ ทั้งสองอย่างนี้ได้สร้างชื่อเสียงของท่านให้โดดเด่น และโด่งดังขึ้นมาตามลำดับ
พระเครื่องรางของขลังหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้วยุคหลังรุ่นแรกๆ รวมทั้งที่ได้พบในกรุพระของท่าน ซึ่งบรรจุใส่ไว้ใน ๒๒ บาตร ในมณฑปที่คนร้ายลักลอบเข้ามาขโมยขุด มักจะสร้างด้วยเนื้อนวโลหะ เนื้อว่าน เนื้อว่านผสมรักดำ และพระเนื้อดินเผาหลวงปู่บุญ เท่าที่มีผู้ค้นคว้าไว้แล้ว โดยเฉพาะที่โดดเด่นและโด่งดังตั้งแต่ในสมัยที่ท่านยังมีชีวิตอยู่นั้น เนื้อนวโลหะก็มี พระช่อชัยวัฒน์หลวงปู่บุญ ทรงชะลูด พระช่อชัยวัฒน์ทรงป้อม (ภาษาใช้ในสมัยนั้น) พระช่อชัยวัฒน์ บัวคว่ำบัวหงาย และ เหรียญรูปเหมือนหลวงปู่บุญ
พระเนื้อว่านหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว ซึ่งจะมีส่วนเนื้อว่านก็มี พระนั่งสมาธิเพชร, พระนั่งสมาธิเพชร ทรงโค้ง, พระนั่งสมาธิเพชร ทรงสามเหลี่ยม นอกจากนี้ยังมีพระเนื้อว่านผสมรักดำ ได้แก่ พระหลวงปู่บุญเศียรโล้นสะดุ้งกลับ, พระหลวงปู่บุญ พิมพ์ปรกโพธิ์ใหญ่-เล็ก, พระหลวงปู่บุญ พิมพ์นาคปรกเล็ก และพระหลวงปู่บุญ ซุ้มเรือนแก้ว
พระเครื่องเนื้อดินเผาหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว นอกจากนี้ก็ยังมี พระเนื้อดินเผา ได้แก่ พระหลวงปู่บุญ พิมพ์เศียรโล้นสะดุ้งกลับ, พระหลวงปู่บุญพิมพ์บัวใหญ่-เล็ก, พระหลวงปู่บุญ ปางนาคปรก และยังมีอื่นๆ อีกเป็นจำนวนมาก ก็คงต้องค่อยศึกษากันไป
ผู้เข้าชม
4455 ครั้ง
ราคา
โทรถามโจคอนสาร
สถานะ
โชว์พระ
โดย
โจคอนสาร
ชื่อร้าน
โจ คอนสาร
ร้านค้า
jokonsarn.99wat.com
โทรศัพท์
0806698987
ไอดีไลน์
jokonsan888
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
ยังไม่ส่ง ข้อมูลยืนยันตัวตน
เหรียญหล่อรุ่นแรก หลวงปู่จื่อ
เหรียญเจริญพร หลวงพ่อสายทอง เต
เหรียญนั่งพาน หลวงพ่อคูณ ปริสุ
ลูกสะกดหลวงพ่อกวย วัดโฆสิตาราม
เบี้ยแก้หลวงพ่อคำ วัดโพธิ์ปล้ำ
เหรียญหล่อฉลหลวงพ่อผาง จิตคุตโ
รุ่น พระกริ่งชินบัญชร มหาเศรษฐ
เหรียญเจริญพรหลวงพ่อสายทอง เตช
เหรียญ "ท่านท้าวมหาพรหม-" THAN
เก้าสิบเก้าวัด
ร้านพระเครื่อง
กระดานสนทนา
ลงพระฟรี
สมัครสมาชิก
ติดต่อทีมงาน
ลืมรหัสผ่าน
ผู้เข้าใช้งานล่าสุด
ยอด วัดโพธิ์
bow-bangkapi
jocho
เนินพระ99
ม่อน นครนนท์
บ้านพระสมเด็จ
บ้านพระหลักร้อย
พระคุ้มครอง
NongBoss
kaew กจ.
เจริญสุข
บี บุรีรัมย์
fuchoo18
MeeDee Amulet
hopperman
termboon
nattapol
someman
somyong
ว.ศิลป์สยาม
tatingtating
แหลมร่มโพธิ์
Le29Amulet
tumlawyer
ชา วานิช
แจ่ม
Taeypk30
เปียโน
natthanet
ponsrithong2
ผู้เข้าชมขณะนี้ 1541 คน
เพิ่มข้อมูล
พระเนื้อชิน หลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว สวยมากๆๆเก่าจัดๆๆ
ส่งข้อความ
ชื่อพระเครื่อง
พระเนื้อชิน หลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว สวยมากๆๆเก่าจัดๆๆ
รายละเอียด
ประวัติหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว กับพระเครื่องรุ่นต่างๆ article
ประวัติหลวงปู่บุญ ขันธโชติ วัดกลางบางแก้ว จ.นครปฐม
ประวัติหลวงปู่บุญ ขันธโชติ วัดกลางบางแก้ว จ.นครปฐม
ประวัติหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว กับพระเครื่องรุ่นต่างๆ พระพุทธวิถีนายก (หลวงปู่บุญ) ถือกำเนิดฤกษ์วันจันทร์ที่ ๓ กรกฎาคม พ.ศ.๒๓๙๐ ณ บ้านตำบลท่าไม้ อ.กระทุ่มแบน จ.สมุทรสาคร (ในสมัยนั้นเรียกว่าบ้านนางสาว) เป็นบุตรของนายเส็ง นางลิ้ม มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน ๖ คน ท่านเป็นบุตรคนหัวปี เมื่อยังเยาว์ ท่านเคยเป็นไข้อาการหนักชนิดหนึ่ง วันหนึ่งถึงกับสลบไสลไม่ได้สติ บิดามารดาเข้าใจว่าตายไปแล้ว ตระเตรียมการจะเอาไปฝัง แต่ท่านกลับฟื้นขึ้นมา เหมือนมีปาฏิหาริย์ ด้วยเหตุนี้ท่านจึงได้ชื่อที่บิดามารดาตั้งให้ไว้ว่า "บุญ" เคราะห์ร้ายก็ยังไม่สิ้น เมื่อบิดามารดามีความจำเป็นต้องย้ายไปประกอบอาชีพทำนาที่ ต.บางช้าง อ.สามพราน จ.นครปฐม แล้วตอนอายุ ๑๓ ปีเท่านั้น บิดาก็สิ้นบุญ ป้าจึงนำไปฝากไว้กับ พระปลัดทอง วัดคงคาราม (ชื่อเดิมของวัดกลางบางแก้ว) อ.นครชัยศรี แล้วบรรพชาเป็นสามเณรเมื่ออายุได้ ๑๕ ปี เรียนหนังสือหนังหา ศึกษาเล่าเรียนพระธรรมวินัย ในขณะเดียวกัน ก็ได้รับใช้ใกล้ชิดพระปลัดทอง วัดคงคาราม แต่แล้วก็ต้องลาสิกขา ในขณะที่มีอายุใกล้จะอุปสมบท เนื่องจากโรคร้ายยังคุกคามไม่ยอมทุเลา
จนกระทั่งเมื่อวันที่ ๒๑ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๑๒ อายุ ๒๒ ปี หลังจากหายจากโรคร้ายดังกล่าวแล้ว จึงมีโอกาสเข้าอุปสมบทเป็นพระภิกษุ ณ พัทธสีมา วัดกลางบางแก้ว โดยมีพระปลัดปาน วัดพิไทยทาราม ป็นพระอุปัชฌาย์ ได้รับฉายาว่า "ขันธโชติ" เกี่ยวกับหน้าที่การงานและสมณศักดิ์ เมื่อ พ.ศ.๒๔๒๙ เป็นเจ้าอาวาสวัดกลางบางแก้ว พ.ศ.๒๔๓๑ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พ.ศ.๒๔๔๓ พรรษา ๓๐ เป็นเจ้าคณะหมวด พ.ศ.๒๔๕๙ พรรษา ๔๖ เป็นพระอุปัชฌาย์ และได้รับราชทินนามว่า "พระอุตรการบดี" พร้อมกับเป็นเจ้าคณะแขวงในปีนั้นด้วย ต่อมาปี พ.ศ.๒๔๘๒ พรรษา ๔๙ ได้รับราชทินนามว่า "พระครูพุทธวิถีนายก" เป็นประธานกรรมการคณะสงฆ์จังหวัดนครปฐมและจังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ.๒๔๗๓ พรรษา ๖๐ ได้รับราชทินนามว่า "พระพุทธวิถีนายก" เป็นประธานคณะสงฆ์มณฑลนครชัยศรี และถึงแก่กาลมรณภาพ เมื่อวันที่ ๘ เมษายน พ.ศ.๒๔๗๘ ในระหว่างที่มีชีวิตอยู่นั้น หลวงปู่บุญ ได้รับเกียรติยกย่องว่าเป็นพระนักพัฒนา โดยบูรณปฏิสังขรณ์วัดกลางบางแก้ว จนรุ่งเรืองขึ้นอย่างผิดหูผิดตา กลายเป็นวัดใหญ่วัดหนึ่งในมณฑลนครชัยศรี นอกจากนั้นท่านยังสร้างหอไตร มณฑป ศาลาการเปรียญ ศาลาลอย หอสวดมนต์ วิหาร โรงเรียนพระปริยัติธรรมบุญรังสฤษดิ์ ศาสนสถานที่ท่านบูรณะดังกล่าว ได้แก่อุโบสถเจดีย์
หลวงปู่บุญ ขันธโชติ ยังส่งเสริมการศึกษาแก่กุลบุตรและธิดา โดยตั้งโรงเรียนประชาบาลบุญวิถีนายกขึ้น ในขณะเดียวกันก็ยังยื่นมือเข้าไปช่วยเหลือวัดที่ขัดข้องในเรื่องต่างๆ อีกหลายวัด
ขอเชิญทุกท่านร่วมงานประกวดพระเครื่อง 21 สิงหาคม 2559 สถานที่จัดงานในครั้งนี้คือ โรงแรมโลตัสปางสวนแก้ว จ.เชียงใหม่ จัดโดย สมาคมพระเครื่อง พระบูชาไทย ภาคเหนือเขต 2
ค้นหา
ประวัติหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว กับพระเครื่องรุ่นต่างๆ article
ประวัติหลวงปู่บุญ ขันธโชติ วัดกลางบางแก้ว จ.นครปฐม
ประวัติหลวงปู่บุญ ขันธโชติ วัดกลางบางแก้ว จ.นครปฐม
ประวัติหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว กับพระเครื่องรุ่นต่างๆ พระพุทธวิถีนายก (หลวงปู่บุญ) ถือกำเนิดฤกษ์วันจันทร์ที่ ๓ กรกฎาคม พ.ศ.๒๓๙๐ ณ บ้านตำบลท่าไม้ อ.กระทุ่มแบน จ.สมุทรสาคร (ในสมัยนั้นเรียกว่าบ้านนางสาว) เป็นบุตรของนายเส็ง นางลิ้ม มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน ๖ คน ท่านเป็นบุตรคนหัวปี เมื่อยังเยาว์ ท่านเคยเป็นไข้อาการหนักชนิดหนึ่ง วันหนึ่งถึงกับสลบไสลไม่ได้สติ บิดามารดาเข้าใจว่าตายไปแล้ว ตระเตรียมการจะเอาไปฝัง แต่ท่านกลับฟื้นขึ้นมา เหมือนมีปาฏิหาริย์ ด้วยเหตุนี้ท่านจึงได้ชื่อที่บิดามารดาตั้งให้ไว้ว่า "บุญ" เคราะห์ร้ายก็ยังไม่สิ้น เมื่อบิดามารดามีความจำเป็นต้องย้ายไปประกอบอาชีพทำนาที่ ต.บางช้าง อ.สามพราน จ.นครปฐม แล้วตอนอายุ ๑๓ ปีเท่านั้น บิดาก็สิ้นบุญ ป้าจึงนำไปฝากไว้กับ พระปลัดทอง วัดคงคาราม (ชื่อเดิมของวัดกลางบางแก้ว) อ.นครชัยศรี แล้วบรรพชาเป็นสามเณรเมื่ออายุได้ ๑๕ ปี เรียนหนังสือหนังหา ศึกษาเล่าเรียนพระธรรมวินัย ในขณะเดียวกัน ก็ได้รับใช้ใกล้ชิดพระปลัดทอง วัดคงคาราม แต่แล้วก็ต้องลาสิกขา ในขณะที่มีอายุใกล้จะอุปสมบท เนื่องจากโรคร้ายยังคุกคามไม่ยอมทุเลา
จนกระทั่งเมื่อวันที่ ๒๑ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๑๒ อายุ ๒๒ ปี หลังจากหายจากโรคร้ายดังกล่าวแล้ว จึงมีโอกาสเข้าอุปสมบทเป็นพระภิกษุ ณ พัทธสีมา วัดกลางบางแก้ว โดยมีพระปลัดปาน วัดพิไทยทาราม ป็นพระอุปัชฌาย์ ได้รับฉายาว่า "ขันธโชติ" เกี่ยวกับหน้าที่การงานและสมณศักดิ์ เมื่อ พ.ศ.๒๔๒๙ เป็นเจ้าอาวาสวัดกลางบางแก้ว พ.ศ.๒๔๓๑ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พ.ศ.๒๔๔๓ พรรษา ๓๐ เป็นเจ้าคณะหมวด พ.ศ.๒๔๕๙ พรรษา ๔๖ เป็นพระอุปัชฌาย์ และได้รับราชทินนามว่า "พระอุตรการบดี" พร้อมกับเป็นเจ้าคณะแขวงในปีนั้นด้วย ต่อมาปี พ.ศ.๒๔๘๒ พรรษา ๔๙ ได้รับราชทินนามว่า "พระครูพุทธวิถีนายก" เป็นประธานกรรมการคณะสงฆ์จังหวัดนครปฐมและจังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ.๒๔๗๓ พรรษา ๖๐ ได้รับราชทินนามว่า "พระพุทธวิถีนายก" เป็นประธานคณะสงฆ์มณฑลนครชัยศรี และถึงแก่กาลมรณภาพ เมื่อวันที่ ๘ เมษายน พ.ศ.๒๔๗๘ ในระหว่างที่มีชีวิตอยู่นั้น หลวงปู่บุญ ได้รับเกียรติยกย่องว่าเป็นพระนักพัฒนา โดยบูรณปฏิสังขรณ์วัดกลางบางแก้ว จนรุ่งเรืองขึ้นอย่างผิดหูผิดตา กลายเป็นวัดใหญ่วัดหนึ่งในมณฑลนครชัยศรี นอกจากนั้นท่านยังสร้างหอไตร มณฑป ศาลาการเปรียญ ศาลาลอย หอสวดมนต์ วิหาร โรงเรียนพระปริยัติธรรมบุญรังสฤษดิ์ ศาสนสถานที่ท่านบูรณะดังกล่าว ได้แก่อุโบสถเจดีย์
หลวงปู่บุญ ขันธโชติ ยังส่งเสริมการศึกษาแก่กุลบุตรและธิดา โดยตั้งโรงเรียนประชาบาลบุญวิถีนายกขึ้น ในขณะเดียวกันก็ยังยื่นมือเข้าไปช่วยเหลือวัดที่ขัดข้องในเรื่องต่างๆ อีกหลายวัด
พระหลวงปู่บุญ เนื้อดินเผา พิมพ์เศียรโล้นสะดุ้งกลับ
พระหลวงปู่บุญ เนื้อดินเผา พิมพ์เศียรโล้นสะดุ้งกลับ
พระเครื่องวัตถุมงคลหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว เกี่ยวกับวัตถุมงคลและ พระพิมพ์พระเครื่อง หลวงปู่บุญท่านสร้างพระเครื่องรางของขลังขึ้นหลายอย่าง และการสร้างสมัยของท่านนั้น มิได้สร้างเพื่อเรียกร้องเงินทองแต่อย่างใด ท่านแจกให้แก่ชาวบ้านญาติโยมไปฟรีๆ เฉพาะผู้ที่อยากจะได้ ในการสร้างพระเครื่องรางและวัตถุมงคลครั้งแรก หรือยุคแรกของท่านนั้น มีหลักฐานบันทึกไว้ในสมัยนั้นว่ามีเพียง พระยาหอม ที่เรียกในสมัยนี้ว่า พระผงยาจินดามณี และ เบี้ยแก้ ทั้งสองอย่างนี้ได้สร้างชื่อเสียงของท่านให้โดดเด่น และโด่งดังขึ้นมาตามลำดับ
พระเครื่องรางของขลังหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้วยุคหลังรุ่นแรกๆ รวมทั้งที่ได้พบในกรุพระของท่าน ซึ่งบรรจุใส่ไว้ใน ๒๒ บาตร ในมณฑปที่คนร้ายลักลอบเข้ามาขโมยขุด มักจะสร้างด้วยเนื้อนวโลหะ เนื้อว่าน เนื้อว่านผสมรักดำ และพระเนื้อดินเผาหลวงปู่บุญ เท่าที่มีผู้ค้นคว้าไว้แล้ว โดยเฉพาะที่โดดเด่นและโด่งดังตั้งแต่ในสมัยที่ท่านยังมีชีวิตอยู่นั้น เนื้อนวโลหะก็มี พระช่อชัยวัฒน์หลวงปู่บุญ ทรงชะลูด พระช่อชัยวัฒน์ทรงป้อม (ภาษาใช้ในสมัยนั้น) พระช่อชัยวัฒน์ บัวคว่ำบัวหงาย และ เหรียญรูปเหมือนหลวงปู่บุญ
พระเนื้อว่านหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว ซึ่งจะมีส่วนเนื้อว่านก็มี พระนั่งสมาธิเพชร, พระนั่งสมาธิเพชร ทรงโค้ง, พระนั่งสมาธิเพชร ทรงสามเหลี่ยม นอกจากนี้ยังมีพระเนื้อว่านผสมรักดำ ได้แก่ พระหลวงปู่บุญเศียรโล้นสะดุ้งกลับ, พระหลวงปู่บุญ พิมพ์ปรกโพธิ์ใหญ่-เล็ก, พระหลวงปู่บุญ พิมพ์นาคปรกเล็ก และพระหลวงปู่บุญ ซุ้มเรือนแก้ว
พระเครื่องเนื้อดินเผาหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว นอกจากนี้ก็ยังมี พระเนื้อดินเผา ได้แก่ พระหลวงปู่บุญ พิมพ์เศียรโล้นสะดุ้งกลับ, พระหลวงปู่บุญพิมพ์บัวใหญ่-เล็ก, พระหลวงปู่บุญ ปางนาคปรก และยังมีอื่นๆ อีกเป็นจำนวนมาก ก็คงต้องค่อยศึกษากันไป
ราคาปัจจุบัน
โทรถามโจคอนสาร
จำนวนผู้เข้าชม
4498 ครั้ง
สถานะ
โชว์พระ
โดย
โจคอนสาร
ชื่อร้าน
โจ คอนสาร
URL
http://www.jokonsarn.99wat.com
เบอร์โทรศัพท์
0806698987
ID LINE
jokonsan888
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
ยังไม่ส่ง ข้อมูลยืนยันตัวตน
กำลังโหลดข้อมูล
หน้าแรกลงพระฟรี